คน-สังคม-ดิจิทัล
การทบทวนสถานการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 ที่มนุษย์พึ่งพาอาศัยและใช้เทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม่อย่างเข้มข้น ซึ่งรู้จักในนาม “เทคโนโลยีดิจิทัล”
คน สังคม ดิจิทัล
การประชุมวิชาการทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 13 หัวข้อ มนุษย์ในโลกดิจิทัล
จัดขึ้นในช่วงวันที่ 4-6 กรกฎาคม 2562
โดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องคค์การมหาชน)
ทบทวนสถานการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 ที่มนุษย์พึ่งพาอาศัยและใช้เทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม่อย่างเข้มข้น ซึ่งรู้จักในนาม “เทคโนโลยีดิจิทัล” เทคโนโลยีนี้เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับระบบการสื่อสารและการจัดการข้อมูลที่ล้ำหน้า โดยอาศัยเครื่องมือและอุปกรณ์ชนิดต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ค แล็บท็อป แท๊บเล็ต สมาร์ทโฟน เป็นต้น มนุษย์ใช้เครื่องมือเหล่านี้สำหรับการกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ส่วนอีกด้านหนึ่งมนุษย์สร้างจินตนาการและมีความรู้สึกเกี่ยวกับสังคมและชีวิตที่มีความสะดวกรวดเร็ว เทคโนโลยีดิจิทัลจึงเป็นมากกว่า “อุปกรณ์” ฉะนั้น การศึกษาสังคมในยุคดิจิทัลจึงอาจเป็นสิ่งที่ท้าทายและมีคำถามให้นักมานุษยวิทยาได้ขบคิดมากมาย เพื่อสำรวจตรวจสอบว่าความเป็นมนุษย์เปลี่ยนไปอย่างไร
ในเล่มได้คัดสรรบทความ 7 บทความ แบ่งเนื้อหาของบทความเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่หนึ่งพูดถึงประสบการณ์และความคิดใหม่ๆ ที่มนุษย์มีต่อเทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม่ กลุ่มที่สองพูดถึงจินตนาการและภาพตัวแทนของมนุษย์ที่ถูกสร้างขึ้นมาโดยเทคโนโลยีดิจิทัล กลุ่มที่สามพูดถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อจัดระเบียบข้อมูลเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม
บทบรรณาธิการ
ดร.นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ
ความเป็นมนุษย์ในโลกดิจิทัล
บทปาฐกถาเปิดการประชุมวิชาการมานุษยวิทยาครั้งที่ 13
หัวข้อ “มนุษย์ในโลกดิจิทัล” ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร วันที่ 4 กรกฎาคม 2562
ดร.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์
ช่างภาพภาพยนตร์ฟิล์มในวันที่ไม่มีฟิล์มให้ถ่าย
จิตติ เอื้อนรการกิจ
แอพพลิเคชั่นบริการทำความสะอาด
ญาดา ช่วยชำแนก
วิภาษวิธีแห่งแรงปรารถนาในทุนนิยมดิจิทัล
ดร.ชญาน์ทัต ศุภชลาศัย
สู่โลกบอท: ความเป็นบุคคลของบอทศิลปินเกาหลีในทวิตเตอร์
อภิษฐา ดวงมณี
มายาภาพของเรื่องเล่าที่คุณเลือกได้ใน แบล็ก มิร์เรอร์: แบนเดอร์สแนตช์
อรรถพล ปะมะโข
ระบบคำศัพท์ รูปแบบข้อมูลที่ใช้ในการลงรายการงานศิลปะและวัตถุทางวัฒนธรรม
ดุษฎีพร ชาติบุตร
ฐานข้อมูลศิลปกรรมลุ่มน้ำโขง
สิริพร ทิวะสิงห์, ธีรยุทธ บาลชน, ผศ.ธวัชชัย ช่างเกวียน
การประชุมวิชาการทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 13 หัวข้อ มนุษย์ในโลกดิจิทัล
จัดขึ้นในช่วงวันที่ 4-6 กรกฎาคม 2562
โดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องคค์การมหาชน)
ทบทวนสถานการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 ที่มนุษย์พึ่งพาอาศัยและใช้เทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม่อย่างเข้มข้น ซึ่งรู้จักในนาม “เทคโนโลยีดิจิทัล” เทคโนโลยีนี้เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับระบบการสื่อสารและการจัดการข้อมูลที่ล้ำหน้า โดยอาศัยเครื่องมือและอุปกรณ์ชนิดต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ค แล็บท็อป แท๊บเล็ต สมาร์ทโฟน เป็นต้น มนุษย์ใช้เครื่องมือเหล่านี้สำหรับการกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ส่วนอีกด้านหนึ่งมนุษย์สร้างจินตนาการและมีความรู้สึกเกี่ยวกับสังคมและชีวิตที่มีความสะดวกรวดเร็ว เทคโนโลยีดิจิทัลจึงเป็นมากกว่า “อุปกรณ์” ฉะนั้น การศึกษาสังคมในยุคดิจิทัลจึงอาจเป็นสิ่งที่ท้าทายและมีคำถามให้นักมานุษยวิทยาได้ขบคิดมากมาย เพื่อสำรวจตรวจสอบว่าความเป็นมนุษย์เปลี่ยนไปอย่างไร
ในเล่มได้คัดสรรบทความ 7 บทความ แบ่งเนื้อหาของบทความเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่หนึ่งพูดถึงประสบการณ์และความคิดใหม่ๆ ที่มนุษย์มีต่อเทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม่ กลุ่มที่สองพูดถึงจินตนาการและภาพตัวแทนของมนุษย์ที่ถูกสร้างขึ้นมาโดยเทคโนโลยีดิจิทัล กลุ่มที่สามพูดถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อจัดระเบียบข้อมูลเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม
บทบรรณาธิการ
ดร.นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ
ความเป็นมนุษย์ในโลกดิจิทัล
บทปาฐกถาเปิดการประชุมวิชาการมานุษยวิทยาครั้งที่ 13
หัวข้อ “มนุษย์ในโลกดิจิทัล” ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร วันที่ 4 กรกฎาคม 2562
ดร.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์
ช่างภาพภาพยนตร์ฟิล์มในวันที่ไม่มีฟิล์มให้ถ่าย
จิตติ เอื้อนรการกิจ
แอพพลิเคชั่นบริการทำความสะอาด
ญาดา ช่วยชำแนก
วิภาษวิธีแห่งแรงปรารถนาในทุนนิยมดิจิทัล
ดร.ชญาน์ทัต ศุภชลาศัย
สู่โลกบอท: ความเป็นบุคคลของบอทศิลปินเกาหลีในทวิตเตอร์
อภิษฐา ดวงมณี
มายาภาพของเรื่องเล่าที่คุณเลือกได้ใน แบล็ก มิร์เรอร์: แบนเดอร์สแนตช์
อรรถพล ปะมะโข
ระบบคำศัพท์ รูปแบบข้อมูลที่ใช้ในการลงรายการงานศิลปะและวัตถุทางวัฒนธรรม
ดุษฎีพร ชาติบุตร
ฐานข้อมูลศิลปกรรมลุ่มน้ำโขง
สิริพร ทิวะสิงห์, ธีรยุทธ บาลชน, ผศ.ธวัชชัย ช่างเกวียน
ผู้แต่ง/บรรณาธิการ:
ดร.นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ
ป้ายกำกับ
รีวิวหนังสือเล่มนี้
หนังสือที่คุณอาจชอบ
01 / 05
รีวิวและให้คะแนนหนังสือเล่มนี้


