ชนชั้นกลางชาวกรุงกับรักโรแมนติกในเพลงสุนทราภรณ์
ดนตรีแจ๊สและเพลงสุนทราภรณ์ การผสมผสานทางวัฒนธรรมที่สะท้อนให้เราเห็นช่วงเวลาของความเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของสังคมไทย
สินค้าหมดสต๊อก
มีหนังสือบริการให้อ่านฟรีที่ห้องสมุดศูนย์มนุษยวิทยาสิรินธร
ลิงค์ไปห้องสมุด: www.sac.or.th/library
ลิงค์ไปห้องสมุด: www.sac.or.th/library
เวลาทำการห้องสมุด
จันทร์ - ศุกร์ : 8:00 – 18:00 น.
เสาร์ : 8:00 – 17:00 น.
หยุดวันนักขัตฤกษ์และวันหยุดตามประกาศราชการ
เสาร์ : 8:00 – 17:00 น.
หยุดวันนักขัตฤกษ์และวันหยุดตามประกาศราชการ
บทที่ 1
- กำเนิดและพัฒนาการของดนตรีตะวันตกในสยามประเทศก่อนหน้าวงดนตรีสุนทราภรณ์
- ดนตรีตะวันตกในบริบท “อาณานิคม” ของสยามสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
- ดนตรีแจ๊ส: เสียงเตือน ณ ห้วงยามใกล้อวสานของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
- สรุปท้ายบท
- วงดนตรีสุนทราภรณ์กับการสร้างสภาวะความเป็นสมัยใหม่แบบ “ไทยสากล” จากยุคก่อกำเนิด - ยุคสงครามเย็น
- กำเนิด “สุนทราภรณ์”: ชนชั้นกลาง ลีลาศ รำวง ไทยสากล และสังคมเมือง
- การสร้างสภาวะความเป็นสมัยใหม่แบบ “ไทยสากล” ของวงดนตรีสุนทราภรณ์
- ชนชั้นกลาง สังคมเมือง และวิทยุ กับวงดนตรีสุนทราภรณ์ในทศวรรษ 2480
- ลีลาศ/รำวง: วัฒนธรรมบันเทิงแห่งความแตกต่างอันสอดประสาน
- สุนทราภรณ์ใต้ปีกพญาอินทรี: ความเปลี่ยนแปลงสภาวะ “ไทยสากล” ในยุคสงครามเย็น
- ดนตรีแจ๊ส “กลายพันธุ์” กับการสร้างเสียงดนตรีแบบ “อนุรักษนิยม”
- “อัสดงคตอเมริกานุวัตร”: วงดนตรีสุนทราภรณ์กับการรับมือวัฒนธรรมตะวันตก
- การพิสูจน์ความเป็น “ไทยสากล” ของวงดนตรีสุนทราภรณ์ในระเบียบโลกยุคสงครามเย็น
- เบนนี่ กู๊ดแมน (Benny Goodman) “ฝรั่ง” ผู้ยกระดับสภาวะ “ไทยสากล”
- เมื่อ “ตะลุง” อยากเป็น “สากล” จึงคิดกลเต้นรำแบบใหม่
- สรุปท้ายบท
- ชีวิตรักนักแต่งเพลง ชุดอารมณ์ และกามรส ในเพลงของวงดนตรีสุนทราภรณ์ กับ “ความรักโรแมนติก” ของชนชั้นกลางชาวกรุง
- พัฒนาการของความรักโรแมนติกกับการเข้าสู่ความเป็นสมัยใหม่ของสยาม
- เรื่องเล่าจากใจ “ศิลปิน”: ชีวิตและประสบการณ์ทางอารมณ์ความรู้สึกของผู้แต่งเนื้อเพลง
- “รถยนต์แล่นด้วยน้ำมัน นักประพันธ์แล่นได้ด้วยอารมณ์”: แก้ว อัจฉริยะกุล กับความรักความหลังของหัวใจ
- “อุษาสวาท”: เพลงรักแทนใจของสุรัฐ พุกกะเวส
- “ฝนหยาดสุดท้าย” กับความเจ็บปวดทางอารมณ์ความรู้สึกของพรพิรุณ
- รักโรแมนติกยุคสงครามเย็น: วงดนตรีสุนทราภรณ์กับการจัดรูปแบบ “สไตล์ทางอารมณ์”
- ชุดอารมณ์ด้านบวกกับ “สไตล์ทางอารมณ์” ของความรักโรแมนติก และคุณค่า “ความรักที่แท้จริง”
- ชุดอารมณ์ด้านลบกับ “สไตล์ทางอารมณ์” ใน “เพลงรักโศก” และด้านมืดของความรักโรแมนติก
- เมื่ออำนาจ “กามรส” จากปทุมถัน เรือนร่าง และการเสพสังวาส ต้องโคจรมาพบเจอกับความรักโรแมนติก
- “ก่อนจากกัน คืนนั้นสองเรา”: กลิ่นไอแห่งกามรส และร่องรอยจุมพิตอันตราตรึง
- “รักรัญจวนป่วนใจให้กระสัน”: อำนาจกามรสบนพื้นที่ของ “เรือนร่าง”
- “ยังเสียวซ่านทรวง เขากอดสอดทรวงล่วงล้ำ”: พลังอันร้อนแรงของกามกิจและกามรส
- สรุปท้ายบท
- ความรักโรแมนติกกับ “เงื่อนไข” ของชีวิตรักและความสัมพันธ์ของชนชั้นกลางชาวกรุง
- “ไม่ใช่คู่แท้แชเชือน รักจึงไม่เหมือนดังใจ”: เมื่อรักของเราสองกลายเป็นภาระของสิ่งศักดิ์สิทธิ์
- เมื่ออำนาจพรหมลิขิตพบเจอกับอำนาจความรักโรแมนติก
- “บุญ-กรรมลิขิต” นำชักให้มาพบรักและพลัดพราก
- “อื่นใดไม่ประสงค์ ใจมั่นคงก็ค่าล้ำเกินใด”: จากเงื่อนไขความต่างทางเศรษฐกิจ-สังคม มาจบลงที่หัวใจ
- ภาพลักษณ์ “ดอกฟ้า” กับความรักโรแมนติกแบบพิศวาส
- “ชนชั้นกลางตกยาก” กับการพิสูจน์อุดมคติของความรักโรแมนติก
- “ความเป็นชายและความเป็นหญิง” กับชีวิตรักและความสัมพันธ์ของชนชั้นกลางชาวกรุง
- “ผู้ชายหลายอย่าง มีท่ามีทางต่างกันสุดพรรณนา”: เรียนรู้ความเป็นชายที่ “ไม่ดี”เพื่อเข้าใจความเป็นชายที่ “ดี”
- “หญิงตามขนบ” และ “หญิงแหวกขนบ”: เรียนรู้จักความเป็นหญิงที่หลากหลาย
- “หญิงตามขนบ” กับความอ่อนหวาน พื้นที่บ้าน และการสงวนพรหมจรรย์
- “หญิงแหวกขนบ”: ภาพความเป็นหญิงที่เฉลียวฉลาด น่าค้นหา แต่อันตราย
- สรุปท้ายบท
ชื่อหนังสือ:
ชนชั้นกลางชาวกรุงกับรักโรแมนติกในเพลงสุนทราภรณ์
ผู้แต่ง/บรรณาธิการ:
บุญพิทักษ์ เสนีบุรพทิศ
สำนักพิมพ์:
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ปีที่พิมพ์:
2568
ISBN:
9786168311431
รีวิวหนังสือเล่มนี้
รีวิวและให้คะแนนหนังสือเล่มนี้


