หน้าหลัก / แนวคิดทฤษฎีมานุษยวิทยา / ลบเลือน เคลือนที่ ทวีทบ มานุษยวิทยาความทรงจำ การเคลื่อนที่ และความซับซ้อน
ลบเลือน เคลือนที่ ทวีทบ มานุษยวิทยาความทรงจำ การเคลื่อนที่ และความซับซ้อน
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ และ วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์ บรรณาธิการ
320 บาท
ราคาปก 400 บาท
ลด 80 บาท (20%)
• มีสินค้าพร้อมส่ง
สินค้าหมดสต๊อก
มีหนังสือบริการให้อ่านฟรีที่ห้องสมุดศูนย์มนุษยวิทยาสิรินธร
ลิงค์ไปห้องสมุด: www.sac.or.th/library
เวลาทำการห้องสมุด
จันทร์ - ศุกร์ : 8:00 – 18:00 น.
เสาร์ : 8:00 – 17:00 น.

หยุดวันนักขัตฤกษ์และวันหยุดตามประกาศราชการ
Share
ปาฐกถา

SIGNS, PORTENTS AND PROSPERITY: Visions, Dreams and Nimit in the Making of
Religious and Ritual Diversity in 21st Century Thailand
          Peter A. Jackson

Care for Memories: The Anthropology of Aging, Dementia and Death
         Arthur Kleinman

กฏทอง (เอาใจเขามาใส่ใจเรา) กับ พหุสภาวะทางวัฒนธรรม
          สุวรรณา สถาอานันท์


ความทรงจำทางการเมืองกับเรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์
กบฏเงี้ยวเมืองแพร่: ประวัติศาสตร์บาดแผล และการเมืองของความทรงจำ
         ชัยพงษ์ สำเนียง
เสียงของเชลยศึกญี่ปุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ในประเทศไทย
         เทพ บุญตานนท์
การช่วงชิงความทรงจำในการต่อสู้ของทหารม้งในช่วงสงครามเย็น
         ประสิทธิ์ ลีปรีชา
สมรภูมิหลุบอีเลิดกับการช่วงชิงพื้นที่ความทรงจำ
         ณรงค์ฤทธิ์ สุมาลี
การบันทึกความทรงจำของชาวนาชาวไร่ภาคเหนือในขบวนการต่อสู้ พ.ศ. 2516-2525
         ขวัญชีวัน บัวแดง
การสร้างและการช่วงชิงความทรงจำ “ถังแดง”
         จุฬารัตน์ ดำรงวิถีธรรม
พระพิมลธรรมที่หายไป: การเมือง ความทรงจำ และเรื่องเล่าหลังตาลปัตร
         ประกีรติ สัตสุต

ความทรงจำกับการเคลื่อนย้าย
ติดอยู่ที่ลูเนต้า: ความทุกข์ทนของหญิงคนไร้บ้านคนหนึ่งในมะนิลา
         บุญเลิศ วิเศษปรีชา
การย้ายไปประเทศที่สาม: การเคลื่อนย้ายที่ต้องระแวดระวังและความทรงจำ
         ประเสริฐ แรงกล้า
ปะติดปะต่อการเคลื่อนย้ายข้ามแดนไป - กลับจากความทรงจำของสมชัย
         สืบสกุล กิจนุกร                                                        
‘บ้าน’ ของผู้ลี้ภัยและความทรงจำที่มิอาจลบเลือน
         วจนา วรรลยางกูร

การเคลื่อนย้ายของความรู้ ความคิด และเทคโนโลยี
21 ปี ในจีนของปรีดี พนมยงค์: การเคลื่อนย้ายของกลุ่มทางการเมืองและทางความคิด
         ดิน บัวแดง
การถ่ายโอนความรู้และเทคโนโลยีทางคหกรรมศาสตร์สู่ครัวเรือนไทยในระหว่างสงครามเย็น
         ธนัท ปรียานนท์
อิทธิพลของขบวนการสากลในการตีความโลกาภิวัฒน์ทางเศรษฐกิจของขบวนการชาวนาไทย
         คีตนาฏ วรรณบวร
การเดินทางของรพินทรนาถ ฐากูร กับการสร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ข้ามชาติเกี่ยวกับเอเชีย
         พัชรวิรัล เจริญพัชรพร
การเคลื่อนย้ายของความไว้วางใจ (trust) ต่อข้อมูลในโลกสมัยใหม่
         ปัญจภา ปิติไกรศร
การค้า แลกเปลี่ยน เรียนรู้: ลูกปัดหินอัญมณีและการเคลื่อนที่ของเทคโนโลยี
         วรรณพร เรียนแจ้ง

เศรษฐกิจและสังคมในการเคลื่อนย้าย
การเคลื่อนย้ายทางสังคมข้ามรุ่นกับโอกาสที่ไม่สม่ำเสมอและความรับผิดชอบของสถาบัน
         กนกวรรณ มะโนรมย์
ไปได้ดีกว่า ไปได้ไกลขึ้น แต่ยังไม่ถึงกับหลุดพ้นจากความยากจน
         ฐานิดา บุญวรรโณ
ไปนอก: ดิ้นพ้นจากความจนเชิงตัวเลข แต่ดิ้นไม่พ้นจากความจนเชิงโครงสร้าง
         กิติมา ขุนทอง
เคลื่อน ไม่เคลื่อน หยุดเคลื่อน: ว่าด้วยการเลื่อนชั้นทางเศรษฐกิจของเกษตรกรในชนบท
         ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ
การบังคับอพยพ: ผลพวงจากนโยบายปราบป้องกันและปราบปรามคอมมิวนิสต์ของรัฐไทยในภาคอีสาน
         ธวัช มณีผ่อง
การบังคับการเคลื่อนย้ายและ (ไม่) สามารถเคลื่อนย้ายในโลกของคนจนข้ามรุ่น ชุมชนประมงขนาดเล็ก จังหวัดปัตตานี
         อลิสา หะสาเมาะ

การข้ามถิ่น ข้ามแดน และข้ามชาติ
การเคลื่อนย้ายของผู้คนในภาคใต้: พลวัตที่ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยอยุธยา
         วันวิสาข์ ธรรมานนท์
ลบไม่เลือนกลืนไม่กลาย: กระบวนการผสมผสานทางวัฒนธรรมแบบชั่วขณะเชิงประวัติศาสตร์และปฏิบัติการของกลุ่มชาวไทย-อินเดียฮินดูพลัดถิ่นภาคเหนือ
         พิทธิกรณ์ ปัญญามณี
แรงงานข้ามชาติสัญชาติพม่ากับการสร้างความเป็นถิ่นฐานใหม่ผ่านอาหารและการแต่งกายในจังหวัดอุบลราชธานี
         สมหมาย ชินนาค
การท่องเที่ยวในเมืองชายแดน: แม่สอดและเมียวดี
         จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง
การเดินทางเคลื่อนย้ายเพื่อการบริโภคในอาณาบริเวณชายแดนไทย-ลาว
         กีรติพร จูตะวิริยะ

มานุษยวิทยาพลัดถิ่น
การศึกษาภาคสนามในประเทศเพื่อนบ้าน: อย่าปล่อยให้เป็นเพียงแค่เรื่องเล่า
         บุญเลิศ วิเศษปรีชา
กำเนิดอุทยานแห่งชาติกับตำแหน่งแห่งที่ของชาวอิบันในสังคมบรูไนร่วมสมัย
         ณภัค เสรีรักษ์
คนแปลกหน้าในสนาม: นักมานุษยวิทยาพลัดถิ่นในกัมพูชา 
         บุษบงก์ วิเศษพลชัย
วิโยค (वियोग): มานุษยวิทยา ภาพถ่าย และการศึกษาอินเดียพลัดถิ่น
         ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ

ภาษา ชาติพันธุ์ และอัตลักษณ์
เมื่อแม่มดพูด: ภาษาและการสื่อสารในพิธีกรรมในแบบเรื่องเล่า
         อัจฉริยา ชูวงศ์เลิศ
กว่าจะสิ้นลมหายใจ : การพรรณนาการสูญหายภาษาชอง ชอุ้ง กะซอง และซำเร
         อิสระ ชูศรี
วิธีวิทยาแบบองค์รวมเพื่อการอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญา: กระบวนทัศน์ใหม่ในการสืบสานฟื้นฟูภาษาวัฒนธรรม
         สุมิตรา สุรรัตน์เดชา
ความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์และพิธีกรรมจากหลักฐานศิลปะบนหินยุคก่อนประวัติศาสตร์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
         ทิพย์วรรณ วงศ์อัสสไพบูลย์

พิธีกรรม ความเชื่อ และความตาย
การผนวกความทรงจำร่วมผ่านโซเชียลมีเดียและป๊อบคัลเจอร์ในกลุ่มร่างทรงและผู้ประกอบพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นเกย์และหญิงข้ามเพศ
         กังวาฬ ฟองแก้ว
ความเชื่อหลังความตายที่แปรเปลี่ยนในสังคมชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม จ.นครพนม
         พัชรพงษ์ ภูเบศรพีรวัส
สำนึกมาตุภูมิในมรณพิธีและพื้นที่สุสานของคนเวียดนามในจังหวัดนครพนม
         สุริยา คำหว่าน
โบราณคดีของความตาย โบราณคดีของหลุมฝังศพ
         นฤพล หวังธงชัยเจริญ
ความตายกับการเคลื่อนย้าย “ร่าง” บนพื้นที่ชายแดนจังหวัดเชียงราย
         ทิฆัมพร สิงโตมาศ
เรือน ร่าง ฝัง เผา: พื้นที่กับการคลื่อนย้ายของความตายบนชายแดน
         บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล
มหรสพแห่งมรณกรรม : พิธีบูชา การรำลึก และของขวัญอันเนื่องด้วยความตาย
         ดำรงพล อินทร์จันทร์
สักการสถานพระมารดาแห่งมรณสักขี สองคอน: การเคลื่อนย้ายความหมายของพื้นที่ความตายผ่านประวัติศาสตร์อัศจรรย์ของบุญราศี–มรณสักขี
         วิสิฏฐ์ คิดคำส่วน
สตรีไร้วิญญาณในจิตรกรรม Pre-Raphaelite ร่างที่กลับกลายใน ‘ความตายที่สวยงาม’
         เอกสุดา สิงห์ลำพอง

ผัสสะ ร่างกาย และความรับรู้
รู้สึกสิ่งที่สามารถรู้สึกได้: ว่าด้วยการสัมผัสเรือนร่างแห่งความรู้สึก
         เกษม เพ็ญภินันท์
รสชาติประดิษฐ์ รสชาติธรรมชาติ หรือเหล่าสรรพสัตว์มีวิธีที่แตกต่างกันในการหารสชาติที่ตนเอง
         บัณฑิต ไกรวิจิตร
สูดกลิ่นซิมโฟนี: สืบกลิ่น และวัฒนธรรม
         ปิยรัตน์ ปั้นลี้
“เห็นฉันไหม นี่ไงฉันเอง”: การละครและมานุษยวิทยาทัศนา
         ภาสกร อินทุมาร
ชาติพันธุ์วรรณนาว่าด้วยเสียง: โสตประสาท โสตพยาน และเทคโนโลยี
         ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
การรู้สำนึกของตัวตนแบบ Holobiont ผ่านการฝึกดำน้ำแบบ freediving
         พศุตม์ ลาศุขะ
ร่างกายที่เชื่องเชื่อและปฏิบัติการของผู้หญิงเวียดนาม
         ธัชชนก สัตยวินิจ
ภววิทยาของปฏิบัติการการแสดง: นัยแห่ง สถานที่ ผู้คน การรับรู้ และการเชื่อมต่อเชิงผัสสะในการ (สื่อ) แสดง
         ณัฐวัฒน์ สิทธิ
สัมผัสด้นสด (contact improvisation) ในฐานะปฏิบัติการ’หัน’ ไปสู่ผู้คนและบริบททางสังคมแห่งความแตกต่างหลากหลายและมีส่วนร่วม
         นิธิพัฒน์ พลชัย

ช้างกับคนในความสัมพันธ์ข้ามสายพันธุ์
เศรษฐศาสตร์การเมืองในโลกของช้างกับคน
         เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
โลกของ “ควาญ-ช้าง” เร่แสดง
         พนา กันธา
ช้างของกะเทย: ชีวิตของช้างและคนเลี้ยงช้าง หน้าม่านหลังม่านการแสดงในเมืองท่องเที่ยว จังหวัดชลบุรี
         วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์
ช้างบ้านค่าย เมืองชัยภูมิ: ประวัติศาสตร์ชุมชนว่าด้วย “คน” กับ “ช้าง”
         อนุชิต สิงห์สุวรรณ

พหุสายพันธุ์ในโลกวรรณกรรม
สวนปาล์มและฟาร์มปลาในวรรณกรรม: สภาวะรวมตัวและการพึ่งพากันในแพลนเทชันโนซีน
         นันทนุช อุดมละมุล
Literary Bovine Holobionts: การโหยหาวัวนมและมารดาตามขนบใน “The Adventure of the Priory School” (1904) ของเซอร์อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ (Sir Arthur Conan Doyle) และ “The Stalled Ox” (1923) ของแซคิ (Saki)
         มิ่ง ปัญหา

เสียง ดนตรี การแสดง และมหรสพ
สดับอดีต
         กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์
กิจกรรมเสียงสื่อสร้างสรรค์
         พงษ์เทพ จิตดวงเปรม
ชาติพันธุ์ในรถแห่ เสียงของแรงงานอีสานพลัดถิ่น
         จารุวรรณ ด้วงคำจันทร์
ความหลากเลื่อน และการปฏิบัติการการแสดง: ภายใต้ประวัติศาสตร์ความคิดเรื่อง "เพลงแห่งชาติ" (Music of the Nations)  ของประเทศไทย ก่อนและหลังพุทธศักราช 2475
         ฟรานซีส นันตะสุคนธ์
ปรากฏการณ์กับการประดิษฐ์เพื่อสร้างสำนึกในวัฒนธรรมดนตรี
         เชาวน์มนัส ประภักดี
ฉากทัศน์การบูชากับวัฒนธรรมดนตรีไทย(ใหม่) ในสังคมไทยร่วมสมัย
         ไอยเรศ บุญฤทธิ์
การบูชาอาจาริยังในวัฒนธรรมดนตรีไทย
         กิตติ คงตุก

ทุน การค้าขาย และการกลายเป็นผู้ประกอบการ
ผลกระทบจาก พรบ.อีอีซี การเคลื่อนย้ายการลงทุนต่างชาติไหลเข้า คนไทยได้อะไร
         พรศิริ ชีวาพัฒนานุวงศ์
การดำรงอยู่และการกลืนกลายของเกษตรกรภายใต้บริบทการพัฒนาหลังบ้านอีอีซี
         กัมปนาท เบ็ญจนาวี
สำรวจวิถีชุมชนพ่อค้าพลอยอินเดียและความเป็นพลวัตรของการค้าอัญมณี: การเคลื่อนย้ายของกลุ่มพ่อค้าพลอยชาวอินเดียในตลาดพลอยตรอกกระจ่าง และถนนศรีจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
         วัลยา นามธรรม
เครือข่ายและข่าวลือ: การเคลื่อนย้ายถ่ายเทเพื่อการปรับตัวและต่อรองในบริบทการค้าชายแดน
         วิลาสินี สุขกา
ซื้อเรื่องราว: การต่อรองความทันสมัยของผู้บริโภคไทยผ่านเสื้อผ้าวินเทจ
         ชัยพร สิงห์ดี
ประสบการณ์ชีวิตและความทรงจำบนพื้นที่ชายแดน: บทสำรวจข้อถกเถียงและแนวทางการศึกษาผู้ประกอบการชนบท
         วราภรณ์ เรืองศรี
ผู้ประกอบการชนเผ่า: วิธีคิด ปฏิบัติการ และการผันตัว
         จิรวัฒน์ รักชาติ
เมื่อข้าพเจ้าเป็น “มิกโซโลจิสต์” (mixologist): อัตชาติพันธุ์วรรณนา เครือข่ายผู้กระทำการและความซับซ้อนของวัฒนธรรมการดื่มในโลกหลังบาร์
         ศักรินทร์ ณ น่าน

อนาคตของการศึกษา
วิศวกรสังคม การหลอมรวมและการเคลื่อนที่ทางสังคม: การสะท้อนย้อนคิดจากผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ
         วรัญญา พรหมสาขา ณ สกลนคร
ลบแต่ไม่เลือน เคลื่อนแต่ไม่ไป ทวีแต่ไม่ทบ: บทวิเคราะห์เพื่อการเคลื่อนกระบวนการ “วิศวกรสังคม”
         พสุธา โกมลมาลย์
การศึกษาข้ามแดน กับความฝัน ความปรารถนาและการเคลื่อนย้ายของเยาวชนลุ่มน้ำโขง: กรณีศึกษานิสิตเวียดนามคนหนึ่ง
         วรเมธ ยอดบุ่น
อดีตเคลื่อนย้ายอนาคต: การเคลื่อนย้ายสู่ความฝันของเยาวชนพม่า และมอญ
         คมสัน ศรีบุญเรือง
การศึกษาข้ามแดน: ความฝัน ความปรารถนาและการเคลื่อนย้านของเยาวชนลุ่มน้ำโขง
         ปรัชญาณินทร์ วงศ์อทิติกุล
Our Dreams and Desires on Education for Life and Society
          Nang Noon Lao, Nang Hseng Ein, Nang Shwe Yong & Nang Noon Mai
รีวิวหนังสือเล่มนี้
0.0
Out of 5
0 Ratings
หนังสือที่คุณอาจชอบ
01 / 05
รีวิวและให้คะแนนหนังสือเล่มนี้
ลบเลือน เคลือนที่ ทวีทบ มานุษยวิทยาความทรงจำ การเคลื่อนที่ และความซับซ้อน
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ และ วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์ บรรณาธิการ
ตะกร้าสินค้า
ลงชื่อเข้าใช้งาน
เพื่อเว็บไซต์จะแนะนำหนังสือ
ในหมวดหมู่ที่คุณอาจสนใจได้ทันที
ลืมรหัสผ่าน?
กรุณากรอกอีเมลที่ท่านสมัครสมาชิกไว้เพื่อรับรหัสผ่านใหม่
ระบบจัดส่งการสร้างรหัสผ่านใหม่ให้ท่านทางอีเมลเรียบร้อยแล้ว
นโยบายความเป็นส่วนตัว