มานุษยวิทยามหาสมุทร ชาติพันธ์ุวรรณนาว่าด้วยเทคโนโลยี สปีชีส์ วัตถุ และเรื่องเล่าใต้ท้องทะเล
ท่ามกลางโลกที่กว้างใหญ่ใบนี้ หนึ่งในพื้นที่ที่จะทำให้มนุษย์อย่างเรารู้สึกเปราะบางได้มากที่สุด ก็คือใต้ท้องทะเล
สินค้าหมดสต๊อก
มีหนังสือบริการให้อ่านฟรีที่ห้องสมุดศูนย์มนุษยวิทยาสิรินธร
ลิงค์ไปห้องสมุด: www.sac.or.th/library
ลิงค์ไปห้องสมุด: www.sac.or.th/library
เวลาทำการห้องสมุด
จันทร์ - ศุกร์ : 8:00 – 18:00 น.
เสาร์ : 8:00 – 17:00 น.
หยุดวันนักขัตฤกษ์และวันหยุดตามประกาศราชการ
เสาร์ : 8:00 – 17:00 น.
หยุดวันนักขัตฤกษ์และวันหยุดตามประกาศราชการ
บทที่ 1 บทนำ : โลกมหาสมุทรกับมนุษยสมัย
- มานุษยวิทยาและมนุษยสมัย
- ว่าด้วยมนุษยสมัย
- ความท้าทายของมหาสมุทรในยุคมนุษยสมัย
- สมมติฐาน Gaia
- โครงสร้างของหนังสือ
บทที่ 2 Thalassoanthropology ชาตพันธุ์วรรณนาและภววิทยาสนามมหาสมุทร
- จาก Oceanography สู่ Thalasoethnography
- งานภาคสนามกับการเป็นอุบัติการณ์
- งานภาคสนามกับชาติพันธุ์วรรณา
- มานุษยวิทยากับการหันสู่ภววิทยา
- นักมานุษยวิทยาในฐานะ “เครื่องมือ” วิจัยภาคสนาม
- งานภาคสนามกับการย้อนคิดว่าด้วยการออกแบบการวิจัย
- จากสนามที่ Objective สู่สนามที่ affective
- จากโลกทางวัฒนธรรมสู่โลกพหุจักรวาล
บทที่ 3 Scuba cyborg: มนุษย์กับเทคโนโลยีในโลกที่ไม่ใช่ของเรา
- เอเลี่ยนในมหาสมุทร มหาสมุทรของเอเลี่ยน
- การดำน้ำในฐานะวิธีวิทยา
- ไซบอร์กในมหาสมุทรเอเลี่ยน
- เทคโนโลยีสกูบา
- นักมานุษยวิทยาไซบอร์ก
- มานุษยวิทยาไซบอร์กในโลกที่ไม่ใช่ของเรา
บทที่ 4 Coral reef: โลกของพหุสายพันธือันซับซ้อนและอ่อนไหว
- รยางค์พินิจและความระโยงระยางของความสัมพันธ์
- ชาติพันธุ์วรรณาว่าด้วยแนวปะการัง: สัตว์ พืช แร่ธาตุ จุลินทรีย์
- ชีวิตท่ามกลางสภาวะวิกฤต
- ปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาว ทะเลกรด และสภาวะโลกรวน
- แนวปะการังกับจริยธรรมของการอนุรักษ์และการดูแล
บทที่ 5 Shipwreck: วัตถุภาวะและสรรพางค์ของชีวิต
- สภาวะอับปาง
- ชีวิตของวัตถุและวัตถุที่มีชีวิตชีวา
- โลหะกับอุตสาหกรรม และความเป็นสมัยใหม่
- เรือรบ สงคราม ความเป็นชาย และการทำลายล้าง
- เรือจมกับผัสสารมณ์หลังวัตถุ
- การเกิดใหม่ของพหุชีวิตและผัสสารมณ์เชิงวัตถุ
บทที่ 6 Underwater Sci-fi: เรื่องเล่าและมานุษยวิทยาของจินตนาการ
- มานุษยวิทยาของการมองไปยังอนาคต (speculative anthropology)
- พหุภวรรณนา (multi-ontography) ว่าด้วยความเป็นไปได้
- มานุษยวิทยากับเรื่องแต่ง
- หลากภววิทยาของ SF
- Ursula K. Le Guin’s The Carrier Bag Theory of Fiction
- ใต้ท้องทะเล 20,000 โยชน์ : ความเป็นชาย เทคโนโลยี สงคราม และมนุษยสมัย
- เรื่องเล่ากับการประกอบสร้างโลกใหม่
บทที่ 7 บทส่งท้าย: มานุษยวิทยาใต้ทะเลในโลกหลังมนุษยนิยม
- AnthropoChthulucene กับท้องทะเล
- บทเรียนจากใต้ทะเลกับจริยธรรมของการอยู่ร่วมกัน
- การดำดิ่งเดินหน้าของมานุษยวิทยาที่มากกว่าพื้นพิภพและมนุษยนิยม
- มานุษยวิทยาและมนุษยสมัย
- ว่าด้วยมนุษยสมัย
- ความท้าทายของมหาสมุทรในยุคมนุษยสมัย
- สมมติฐาน Gaia
- โครงสร้างของหนังสือ
บทที่ 2 Thalassoanthropology ชาตพันธุ์วรรณนาและภววิทยาสนามมหาสมุทร
- จาก Oceanography สู่ Thalasoethnography
- งานภาคสนามกับการเป็นอุบัติการณ์
- งานภาคสนามกับชาติพันธุ์วรรณา
- มานุษยวิทยากับการหันสู่ภววิทยา
- นักมานุษยวิทยาในฐานะ “เครื่องมือ” วิจัยภาคสนาม
- งานภาคสนามกับการย้อนคิดว่าด้วยการออกแบบการวิจัย
- จากสนามที่ Objective สู่สนามที่ affective
- จากโลกทางวัฒนธรรมสู่โลกพหุจักรวาล
บทที่ 3 Scuba cyborg: มนุษย์กับเทคโนโลยีในโลกที่ไม่ใช่ของเรา
- เอเลี่ยนในมหาสมุทร มหาสมุทรของเอเลี่ยน
- การดำน้ำในฐานะวิธีวิทยา
- ไซบอร์กในมหาสมุทรเอเลี่ยน
- เทคโนโลยีสกูบา
- นักมานุษยวิทยาไซบอร์ก
- มานุษยวิทยาไซบอร์กในโลกที่ไม่ใช่ของเรา
บทที่ 4 Coral reef: โลกของพหุสายพันธือันซับซ้อนและอ่อนไหว
- รยางค์พินิจและความระโยงระยางของความสัมพันธ์
- ชาติพันธุ์วรรณาว่าด้วยแนวปะการัง: สัตว์ พืช แร่ธาตุ จุลินทรีย์
- ชีวิตท่ามกลางสภาวะวิกฤต
- ปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาว ทะเลกรด และสภาวะโลกรวน
- แนวปะการังกับจริยธรรมของการอนุรักษ์และการดูแล
บทที่ 5 Shipwreck: วัตถุภาวะและสรรพางค์ของชีวิต
- สภาวะอับปาง
- ชีวิตของวัตถุและวัตถุที่มีชีวิตชีวา
- โลหะกับอุตสาหกรรม และความเป็นสมัยใหม่
- เรือรบ สงคราม ความเป็นชาย และการทำลายล้าง
- เรือจมกับผัสสารมณ์หลังวัตถุ
- การเกิดใหม่ของพหุชีวิตและผัสสารมณ์เชิงวัตถุ
บทที่ 6 Underwater Sci-fi: เรื่องเล่าและมานุษยวิทยาของจินตนาการ
- มานุษยวิทยาของการมองไปยังอนาคต (speculative anthropology)
- พหุภวรรณนา (multi-ontography) ว่าด้วยความเป็นไปได้
- มานุษยวิทยากับเรื่องแต่ง
- หลากภววิทยาของ SF
- Ursula K. Le Guin’s The Carrier Bag Theory of Fiction
- ใต้ท้องทะเล 20,000 โยชน์ : ความเป็นชาย เทคโนโลยี สงคราม และมนุษยสมัย
- เรื่องเล่ากับการประกอบสร้างโลกใหม่
บทที่ 7 บทส่งท้าย: มานุษยวิทยาใต้ทะเลในโลกหลังมนุษยนิยม
- AnthropoChthulucene กับท้องทะเล
- บทเรียนจากใต้ทะเลกับจริยธรรมของการอยู่ร่วมกัน
- การดำดิ่งเดินหน้าของมานุษยวิทยาที่มากกว่าพื้นพิภพและมนุษยนิยม
ชื่อหนังสือ:
มานุษยวิทยามหาสมุทร
ผู้แต่ง/บรรณาธิการ:
จักรกริช สังขมณี
สำนักพิมพ์:
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ปีที่พิมพ์:
2567
ISBN:
9786168311202
รีวิวหนังสือเล่มนี้
หนังสือที่คุณอาจชอบ
01 / 05
รีวิวและให้คะแนนหนังสือเล่มนี้


