ชีวิตภาคสนาม
สนามของมานุษยวิทยาในปัจจุบันไม่ได้มีเพียง “ความเข้าใจ”
แต่เต็มไปด้วย “ความรู้สึก”
สินค้าหมดสต๊อก
มีหนังสือบริการให้อ่านฟรีที่ห้องสมุดศูนย์มนุษยวิทยาสิรินธร
ลิงค์ไปห้องสมุด: www.sac.or.th/library
ลิงค์ไปห้องสมุด: www.sac.or.th/library
เวลาทำการห้องสมุด
จันทร์ - ศุกร์ : 8:00 – 18:00 น.
เสาร์ : 8:00 – 17:00 น.
หยุดวันนักขัตฤกษ์และวันหยุดตามประกาศราชการ
เสาร์ : 8:00 – 17:00 น.
หยุดวันนักขัตฤกษ์และวันหยุดตามประกาศราชการ
บทความปาฐกถา
ภววิทยาสนาม : ประวัติศาสตร์ย่อของการวิจัยสนามในมานุษยวิทยา
ยุกติ มุกาดวิจิตร
คุยกับวัตถุ : แลกเปลี่ยนประสบการณ์สนามจากพุกาม
เสมอชัย พูลสุวรรณ
โบราณคดีสนามในฐานะของงานชาติพันธุ์วิทยาระยาว
รัศมี ชูทรงเดช
ตามรอยมานุษยวิทยาของชาร์ลส์ เอฟ.คายส์
สนามในประวัติศาสตร์ : นักมานุษวิทยาอเมริกันกับภูมิภาคอีสานในห้วงเวลาแห่งสงครามเย็น
ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี
ตามรอย มานุษยวิทยาศาสนา ผ่านงานภาคสนามของ Charles F. Keyes ที่เชียงใหม่และแม่สะเรียง
วสันต์ ปัญญาแก้ว
ตามรอย...ครูสู่สนามบ้านหนองตื่น อ.เมือง จ.มหาสารคาม
แก้วตา จันทรานุสรณ์
งานสนามข้ามแดนคน สัตว์ และสรรพสิ่ง
Multi-Sited Ethnography งานภาคสนามกับการเดินทางติดตามชีวิตเร่ร่อนของช้างและควาญช้างในปางช้างทั่วแดนไทย
วสันต์ ปัญญาแก้ว
Multispecies Anthropology: Fieldwork among Human-Elephant communities
Rebecca Winkler
ธรรมชาติกับวัฒนธรรมในสรรพรสของสนามข้ามแดน
พลวัฒ ประพัฒน์ทอง
งานภาคสนามท่ามกลางสภาวะขัดกันเองของรัฐ ในการควบคุมแรงงานข้ามชาติและบทบาท
ของภาคประชาสังคมในการสร้างพรมแดนใหม่ในสถานการณ์โรคโควิด-19 ในอาณาบริเวณพรมแดนเชียงราย
สืบสกุล กิจนุกร
ร่องรอยและเรื่องราวของวัวข้ามแดน: โครงสร้างพื้นฐานของการมีชีวิตและความพัวพันบนพื้นที่ชายแดนของสัตว์
จิราพร เหล่าเจริญวงศ์
สัตวแพทย์กับวัวข้ามแดน
เทิดศักดิ์ ญาโน
มิติเชิงนโยบายต่อการเคลื่อนย้ายและการค้าวัวข้ามแดน: จากการควบคุม สู่การดูแลและสร้างความเป็นธรรมที่มากขึ้น
ปิยะพงษ์ บุษบงก์
ยิ่งใกล้ยิ่งเจ็บ: การเมืองของการดูแลและความสัมพันธ์ของคนกับวัวข้ามแดนในปฏิบัติการการดูและยะสั้น
ชัชชล อัจนากิตติ
ช้างป่า ตัวทาก และหมู่บ้านไทอายตอนแห่งอัสสัม: การค้นพบสนาม เส้นทางแห่งโชคชะตา
ของงานวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก
วัลยา นามธรรม
ปลดแอกสนามในเรื่องเล่า เสียง และวรรณกรรม
ประสบการณ์การทำวิจัยวรรณกรรมในฐานะสนามใน/นอกนากาแลนด์
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ
สำรวจการอยู่ร่วมของโลกอันหลากหลายและความทรงจำดาวเคราะห์ในนวนิยาย The Earthspinner
ของ Anuradha Roy ผ่านแนวทางธรณีวิพากษ์
นันทนุช อุดมละมุล
รื้อสำรวจความเป็นสัตว์ในดินแดนอาณานิคม: การทำให้เชื่อง การขูดรีด และการทำลายล้าง
พนา กันธา
รถแห่: สนามแห่งเสียงไทบ้านอีสานใหม่
จารุวรรณ ด้วงคำจันทร์
สุนทรียะของเสียงในสนามแผ่นเสียง
มุขธิดา เองนางรอง
สนามในเมืองและโรงพยาบาล
ความจริงหลากหลายชุดของการแพทย์พันธุกรรมในโลกยุคพ้นมนุษย์
ประชาธิป กะทา
Hospital Design for Humanized Care เรื่องเล่าของชีวิตและชีวิตของเรื่องเล่าในการออกแบบโรงพยาบาล
ชัชชล อัจนากิตติ
ในสนามแห่งความหวัง: ว่าด้วยเรื่องหมอสูติกับคน (คิด) อยากมีลูก
ปาณิภา สุขสม
อยู่ที่นั่นและท่องไปกับคนไร้บ้าน
บุญเลิศ วิเศษปรีชา
เดินไปกับเสื้อผ้ามือสอง
ชัยพร สิงห์ดี
ตามไปบ้านของคนเก็บของเก่า
วศิน วิเศษศักดิ์ดี
งานสนามกับความยากจนและผู้ถูกกดขี่
วิธีวิทยาการศึกษาความยากจนในสังคมไทย
กนกวรรณ มะโนรมย์
ตำแหน่งแห่งที่ของผู้วิจัยในการศึกษาครัวเรือนยากจน: จุดเชื่อมต่อของความรู้และตัวตนของนักวิจัยและผู้เข้าร่วมวิจัย
ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ
นักนุษยวิทยากับการสืบสาวอารมณ์ความรู้สึกว่าด้วย “ความทุกข์ทน” (Suffering) –“ความจน”(Poverty) ของผู้หญิงในการต่อสู่คัดค้านเหมืองแร่หินอุตสาหกรรม
กิติมา ขุนทอง
ความร่วมรู้สึกของนักมานุษยวิทยาในการทำงานภาคสนามประเด็นความยากจน
ธวัช มณีผ่อง
ผู้เปราะบางและความยากจนและระเบียบวิธีวิจัยที่มีความเป็นมนุษย์
อลิสา หะสาเมาะ
การส่งเสียงความคับแค้นของคนเสื้อแด ในการชุมนุมทางการเมือง 2553
เกษม เพ็ญภินันท์
วัตถุแห่งการต่อต้านขัดขืน: ข้าวในสนามแฟนคลับ
ปิยรัตน์ ปั้นลี้
ชาติพันธุ์และความทรงจำในสนาม
การสังเกตการณ์ภาคสนาม “การจัดประเภททางชาติพันธุ์ชาวจาไฮ ซาวมันนิ และชาวกะเหรี่ยง” หรือจริง ๆ แล้วไม่มีชาติพันธุ์ มีแต่ “คน”
บัณฑิต ไกรวิจิตร
การศึกษาเรื่องเล่าชาติพันธุ์ด้วยชาติพันธุ์วรรณนา การติดตาม การศึกษาเอกสารโบราณ และพิธีกรรมในภาคสนามข้ามพรมแดนรัฐชาติ ชาติพันธุ์ ภาษา และวัฒนธรรม
อัจฉริยา ชูวงศ์เลิศ
การศึกษาเรื่องเล่าชาติพันธุ์ด้วยชาติพันธุ์วรรณา การติดตาม ในการศึกษาความทรงจำและเรื่องเล่าในภาคสนามข้ามพรมแดน กรณีศึกษาเรื่องเล่าของผู้หญิงขายไข่ด้วยวิธีการเชิง Nethnography
กุลธิดา ศรีวิเชียร
เรื่องเล่าที่หลากหลาย: ประวัติศาสตร์ เรื่องแต่ง สถานที่ และวัตถุสู่ปฏิบัติการสร้างความทรงจำจากเบื้องล่าง
บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล
ภาคสนามว่าด้วยการศึกษาความทรงจำ
กฤษณะ โชติสุทธิ์
งานวิจัยภาคสนามท่ามกลางการติดตามของสหาย
ประสิทธิ์ ลีปรีชา
อาหารกับการสร้างความสัมพันธ์ในภาคสนาม
พุทธิดา กิจดำเนิน
ต้องละเว้นการมีเพศสัมพันธ์ในการเข้าร่วมพิธีกรรม
อุไร ยังชีพสุจริต
เล่าเรื่องเหล้าในงานภาคสนาม
นวพร สุนันท์ลิกานนท์
“ส่องซอด-ส่องหา” ตัวตนในชีวิตชาติพันธุ์: ประสบการณ์ภาคสนามของงานปฏิบัติการชุมชน
ณรงค์ฤทธิ์ สุมาลี
สนามเหวียดเกี่ยวอีสาน: ความทับซ้อนทางจินตนาการข้ามพรมแดนรัฐชาติ
สุริยา คำหว่าน
กฎหมายคุ้มครองสิทธิชุมชนชาติพันธุ ด้วยการถกแถลงผ่านปฏิบัติการสร้างนวัตกรรมชุมชน
ประภาส ปิ่นตบแต่ง
พหุภาคสนามและการเมืองทางชาติพันธุ์ในภาคอีสานของอินเดีย
ดำรงพล อินทร์จันทร์
สนามของความเชื่อ ศาสนา และสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ผัสสะและภาวะไร้ผัสสะต่อสิ่งเหนือธรรมชาติ:ภาพสะท้อนความสัมพันธ์เชิงอำนาจในสนามกรณีศึกษาสนามทางชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโพล่วด้ายเหลืองลัทธิเจ้าวัด
นัฐวุฒิ สิงห์กุล
สภาวะ “ในระหว่าง” การท้อนย้อนคิดของนักมานุษยวิทยาในสนามพิธีกรรม
ปรารถนา จันทร์พันธุ์
หน้าตาไม่มีศรัทธา: จุดเปลี่ยนเชิงภววิทยาและประสบการณ์ชาติพันธ์วรรณนาศาสนา
ณีรนุช แมลงภู่
“ผี”: ปฏิบัติการทางสังคมในความขัดแย้งของชุมชนและการทำงานภาคสนามมานุษยวิทยา
เอกรินทร์ พึ่งประชา
งานภาคสนามกับภิกษุณีไทยและผู้ศรัทธา
คัคณางค์ ยาวะประภาษ
ความเป็นส่วนเสี้ยว: สนามนักวิจัยหญิงมุสลิม
อัมพร หมาดเด็น
สภาวะรวมตัว (assemblage) ในการศึกษาพื้นที่ศาสนา
ขวัญชีวัน บัวแดง
การบูชาแบบผสมผสาน: ศาสนาฮินดู และการเผชิญหน้าต่อโควิด-19 ผ่านรูปแบบติดพื้นที่และออนไลน์ในประเทศไทย
พิทธิกรณ์ บัญญามณี
พื้นที่ทางสังคมของวัยรุ่นไทใหญ่ที่ซ้อนทับในพื้นที่ทางศาสนา
พัค วอนซอน
พรมแดนในพื้นที่ศาสนา ชายแดนของความเป็นศาสนิก
สมัคร์ กอเซ็ม
เพศ อารณ์ เรือนร่าง และผัสสะในสนาม
เพศ ตัวตน และความลื่นไหลของบทบาทนักวิจัย: ประสบการณ์ภาคสนามของการศึกษากะเทยไทยในต่างแดน
ชีรา ทองกระจาย
เหล้า ยา บาร์โฮสต์: เรื่อง (ที่ไม่เคย) เล่าจาก “สนามวิจัยสีเทา ๆ” ของข้าพเจ้า
วิจิตร ประพงษ์
จากร่างที่ถูก “อ่าน” สู่ การ “เขียน”
ชนาธิป สุวรรณานนท์
นักเรียนตัวร้ายกับนักวิจัยจอมจุ้น: ตัวตนของนักวิจัยกับปฏิสัมพันธ์ของนักเรียนเพศหลากหลายในการเก็บข้อมูลภาคสนาม
ลิลิต วรวุฒิสุนทร
นักมานุษยวิทยาปะทะศิลปิน: สู่สนามของมวยด้วยเนื้อหนัง (ของเพื่อน)
อาจินต์ ทองอยู่คง
ปฏิบัติการภัณฑารักษ์ระหว่าง “ศิลปิน” และ “นักมานุษยวิทยา” ใน “สนาม” ของมวยไทย
กษมาพร แสงสุระธรรม
ฝึกมวยไทย: ประสบการณ์ทางร่างกายของศิลปิน
จุฬาญาณนนท์ ศิริผล
ความไม่แน่นอนและความแปลกแยกในสนาม
ภาคสนามที่ไม่แน่นอน: ชาติพันธุ์วรรณนาศาสนาในสังคมผู้ประกอบการ
ณีรนุช แมลงภู่
ภาคสนามในการเมืองของความไม่แน่นอน
ชัยพงษ์ สำเนียง
ชีวิตที่ไม่แน่นอนท่ามกลางผลลัพธ์ของการพัฒนาที่ไม่คาดคิด: ประสบการณ์ภาคสนามในสังคมเกษตรกรรมหลังบ้านอีอีซี
กัมปนาท เบ็ญจนาวี
การสังเกตการณ์อย่าง(ไม่)มีส่วนร่วมในงานภาคสนาม
การรัณยภาส ภู่ยงยุทธ์
การเปลี่ยนแปลงของระบบเกษตรภาคอีสาน: ประสบการณ์ภาคสนามผ่านสายตานักวิชาการระบบเกษตร
โสรัจจ์ ประวีณวงศ์วุฒิ
ทบทวน "ถิ่นแปลก" : ความท้าทายของปฏิบัติการสนามในการศึกษาชาวนากา
จักรวัฒน์ โพธิมณี
เล่นเอาเรื่อง: นักวิจัย(เด็ก) เด็ก และสนามวิจัยชุมชน
นิฌามิล หะยีซะ
สนามอารมณ์และมุมมองของนักวิจัย “หน้าใหม่” ที่ประสบอุบัติเหตุในสนาม
ธนพล เลิศเกียรติดำรง
ประสบการณ์เก็บข้อมูลในชุมชนบางเทา
ชาคริต พลีตา
อยู่กับการเมืองท้องถิ่นขอคงชุมชนเกาะกง
กฤชกร กอกเผือก
สนามของเอกสาร วัตถุ และเรื่องรางของขลัง
วัตถุที่ถูกทำให้ศักดิ์สิทธิ์
ปุรินทร์ นาคสิงห์
โบราณวัตถุ: เรื่องเล่าของแมว
พวงทิพย์ เกิดทรัพย์
Move on ชีวิต ด้วย Muketing (การตลาดสายมู)
ฐิติรัตน์ เวทย์ศิริยานันท์
นาคาพาณิชย์
สุรเชษฐ์ อินธิแสง
ลงตูบลงผาม
สุวัฒชัย พ่อเกตุ
ความสำคัญของงานภาคสนาม(เชิงมานุษยวิทยา) ในการศึกษาเอกสารโบราณคำเรียกขวัญไทอาหม “ขอนมิงลุงไผ”
กนกวรรณ ชัยทัต
การออกภาคสนามเพื่อสำรวจและถ่ายภาพจารึก
ดอกรัก พยัคศรี
ชื่อหนังสือ:
ชีวิตภาคสนาม
ผู้แต่ง/บรรณาธิการ:
นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ,วิสุทธิ์ เวชวราภรณ์,บรรณาธิการ
ผู้ออกแบบปก:
วิสูตร สิงห์โส
สำนักพิมพ์:
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ปีที่พิมพ์:
2566
ISBN:
9786168311196
จำนวนหน้า:
452
ป้ายกำกับ
รีวิวหนังสือเล่มนี้
หนังสือที่คุณอาจชอบ
01 / 05
รีวิวและให้คะแนนหนังสือเล่มนี้


