ครรภ์แห่งชาติ: รัฐเจริญพันธุ์ ร่างกาย และเพศวิถี
สินค้าหมดสต๊อก
มีหนังสือบริการให้อ่านฟรีที่ห้องสมุดศูนย์มนุษยวิทยาสิรินธร
ลิงค์ไปห้องสมุด: www.sac.or.th/library
ลิงค์ไปห้องสมุด: www.sac.or.th/library
เวลาทำการห้องสมุด
จันทร์ - ศุกร์ : 8:00 – 18:00 น.
เสาร์ : 8:00 – 17:00 น.
หยุดวันนักขัตฤกษ์และวันหยุดตามประกาศราชการ
เสาร์ : 8:00 – 17:00 น.
หยุดวันนักขัตฤกษ์และวันหยุดตามประกาศราชการ
สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
มโนทัศนว่าด้วยอำนาจและการเมืองชีวญาณกับการเมืองว่าด้วยการเจริญพันธุ์
รัฐกับการควบคุมการเจริญพันธุ์ในไทย
บทที่ 2 จากครรภ์อารยะสู่ครรภ์เศรษฐกิจ : การสร้างชาติและชาตินิยมประชากร
- การประทะประสานระหว่างจักรวาลวิทยาพื้นบ้านกับการแพทย์ตะวันตกในการจัดการครรภ์
- การสร้างครรภ์อารยะ : กำเนิดการผดุงครรภ์กับการ “รักษา” ชีวิตในช่วงเปลี่ยนผ่านเข้าสู่รัฐสมัยใหม่
- สำมะโนประชากรในฐานะอำนาจชีวญาณ
- การเพิ่มจำนวนประชากรเพื่อการสร้างชาติในสมัยรัชกาลที่ 7
- ครรภ์ในฐานะทรัพยากรเศรษฐกิจ : ชาตินิยมประชากรกับการสร้างชาติในยุคจอมพล ป.พิบูลสงคราม
บทที่ 3 ครรภ์ในฐานะแหล่งความยากจน : การพัฒนาในยุคสงครามเย็น การลดการเจริญพันธุ์และการครองอำนาจนำของอุดมการณ์การวางแผนครอบครัว
- กำเนิด “ปัญหาประชากร” โลกกับการเมืองของนโยบายควบคุมการเกิด (Anti-Natalist Policy)
- สหรัฐอเมริกากับการสนับสนุน “ครรภ์เพื่อการพัฒนา” ในยุคสงครามเย็นของไทย
- ครรภ์เพื่อการพัฒนา กับปฏิบัติการของขบวนการวางแผนครอบครัวในไทย
- ผู้หญิงกับการเมืองของความต้องการที่ไม่สัมฤทธิ์ของการคุมกำเนิด
- การระเบิดภายในของประชากร (Population Implosion) และการย้อนกลับสู่ครรภ์เพื่อการผลิต
บทที่ 4 ครรภ์กับการเมืองของศีลธรรม : จากการทำแท้งสู่การตั้งครรภ์แทน
- การทำแท้ง อำนาจชีวญาณ และการเมืองของศีลธรรมในการควบคุมกำกับการเจริญพันธุ์
- การถอดการเมืองออกจากศีลธรรมกับการสร้างพื้นที่ที่สามของครรภ์ของผู้หญิง
- การต่อรองกับครรภ์ศีลธรรมอันยาวนาน
- การตั้งครรภ์แทนข้ามชาติ : ศีลธรรม งาน กับแรงงานการตั้งครรภ์แทน
- อุตสากรรมการตั้งครรภ์แทนในไทย
- เครือข่ายการรับตั้งครรภ์แทนข้ามชาติ
- ตัวกลาง นายหน้า และล่าม ในเครือข่ายธุรกิจการตั้งครรภ์แทน
- แรงงานรับจ้างตั้งครรภ์แทน : ความเสี่ยงและศีลธรรมของการตั้งครรภ์แทน
- แรงงานใกล้ชิด (Intimate Labor) และการจัดการความรู้สึกของหญิงรับตั้งครรภ์แทน
- ผู้หญิง รัฐ กับข้อถกเถียงในอุตสาหกรรมการตั้งครรภ์แทน
บทที่ 5 บทสรุป บรรณานุกรม
บทที่ 1 บทนำ
มโนทัศนว่าด้วยอำนาจและการเมืองชีวญาณกับการเมืองว่าด้วยการเจริญพันธุ์
รัฐกับการควบคุมการเจริญพันธุ์ในไทย
บทที่ 2 จากครรภ์อารยะสู่ครรภ์เศรษฐกิจ : การสร้างชาติและชาตินิยมประชากร
- การประทะประสานระหว่างจักรวาลวิทยาพื้นบ้านกับการแพทย์ตะวันตกในการจัดการครรภ์
- การสร้างครรภ์อารยะ : กำเนิดการผดุงครรภ์กับการ “รักษา” ชีวิตในช่วงเปลี่ยนผ่านเข้าสู่รัฐสมัยใหม่
- สำมะโนประชากรในฐานะอำนาจชีวญาณ
- การเพิ่มจำนวนประชากรเพื่อการสร้างชาติในสมัยรัชกาลที่ 7
- ครรภ์ในฐานะทรัพยากรเศรษฐกิจ : ชาตินิยมประชากรกับการสร้างชาติในยุคจอมพล ป.พิบูลสงคราม
บทที่ 3 ครรภ์ในฐานะแหล่งความยากจน : การพัฒนาในยุคสงครามเย็น การลดการเจริญพันธุ์และการครองอำนาจนำของอุดมการณ์การวางแผนครอบครัว
- กำเนิด “ปัญหาประชากร” โลกกับการเมืองของนโยบายควบคุมการเกิด (Anti-Natalist Policy)
- สหรัฐอเมริกากับการสนับสนุน “ครรภ์เพื่อการพัฒนา” ในยุคสงครามเย็นของไทย
- ครรภ์เพื่อการพัฒนา กับปฏิบัติการของขบวนการวางแผนครอบครัวในไทย
- ผู้หญิงกับการเมืองของความต้องการที่ไม่สัมฤทธิ์ของการคุมกำเนิด
- การระเบิดภายในของประชากร (Population Implosion) และการย้อนกลับสู่ครรภ์เพื่อการผลิต
บทที่ 4 ครรภ์กับการเมืองของศีลธรรม : จากการทำแท้งสู่การตั้งครรภ์แทน
- การทำแท้ง อำนาจชีวญาณ และการเมืองของศีลธรรมในการควบคุมกำกับการเจริญพันธุ์
- การถอดการเมืองออกจากศีลธรรมกับการสร้างพื้นที่ที่สามของครรภ์ของผู้หญิง
- การต่อรองกับครรภ์ศีลธรรมอันยาวนาน
- การตั้งครรภ์แทนข้ามชาติ : ศีลธรรม งาน กับแรงงานการตั้งครรภ์แทน
- อุตสากรรมการตั้งครรภ์แทนในไทย
- เครือข่ายการรับตั้งครรภ์แทนข้ามชาติ
- ตัวกลาง นายหน้า และล่าม ในเครือข่ายธุรกิจการตั้งครรภ์แทน
- แรงงานรับจ้างตั้งครรภ์แทน : ความเสี่ยงและศีลธรรมของการตั้งครรภ์แทน
- แรงงานใกล้ชิด (Intimate Labor) และการจัดการความรู้สึกของหญิงรับตั้งครรภ์แทน
- ผู้หญิง รัฐ กับข้อถกเถียงในอุตสาหกรรมการตั้งครรภ์แทน
บทที่ 5 บทสรุป บรรณานุกรม
ปีที่พิมพ์:
2566
ISBN:
978-616-8311-10-3
จำนวนหน้า:
182
ป้ายกำกับ
รีวิวหนังสือเล่มนี้
หนังสือที่คุณอาจชอบ
01 / 05
รีวิวและให้คะแนนหนังสือเล่มนี้