หน้าหลัก / รัฐ และวัฒนธรรมอำนาจ / ไฮเวยาธิปไตย : อำนาจของถนนกับพลวัติการคมนาคมขนส่งของประเทศไทย
ไฮเวยาธิปไตย : อำนาจของถนนกับพลวัติการคมนาคมขนส่งของประเทศไทย
ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์
350 บาท
• มีสินค้าพร้อมส่ง
สินค้าหมดสต๊อก
มีหนังสือบริการให้อ่านฟรีที่ห้องสมุดศูนย์มนุษยวิทยาสิรินธร
ลิงค์ไปห้องสมุด: www.sac.or.th/library
เวลาทำการห้องสมุด
จันทร์ - ศุกร์ : 8:00 – 18:00 น.
เสาร์ : 8:00 – 17:00 น.

หยุดวันนักขัตฤกษ์และวันหยุดตามประกาศราชการ
Share
สารบัญ

บทที่ 1 บทนำ    
                                    
บทที่ 2 พัฒนาการของไฮเวยาธิปไตย ภายใต้อุดมการณ์ระบบราชการและการเมืองไทย                    
2.1 “ไฮเวยาธิปไตย” เส้นทางรองในระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์        
2.2 “ไฮเวยาธิปไตย” หลังปฏิวัติสยามกับภารกิจของการเชื่อมต่อประเทศ    
2.3 “ไฮเวยาธิปไตย” หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และทุนนิยมขุนนางในนามบริษัทผู้รับเหมาก่อสร้าง                        
2.4 “ไฮเวยาธิปไตย” ยุคพัฒนา การเมือง และธุรกิจหลังทศวรรษ 2500    
2.5 มหากาพย์ “ไฮเวยาธิปไตย” ในนามทางหลวง-ทางด่วน ก่อนวิกฤตเศรษฐกิจ 2540                                 
2.5.1 จากทางหลวงแบบ Americanization สู่ Japanization            
2.5.2 ม้วนทางหลวงให้มาอยู่ในรูปทางด่วนในกรุงเทพฯ เพื่อบรรเทาปัญหาการจราจรติดขัดและเชื่อมไทยสู่โลก                
2.5.3 การขยายตัวของบริษัทก่อสร้างสายสัมพันธ์กับนักการเมือง        
2.5.4 อภิมหาโครงการทางหลวงก่อนวิกฤตเศรษฐกิจ                
2.6 “ไฮเวยาธิปไตย” ที่ร่วงโรยทางหลวงหลังวิกฤตเศรษฐกิจ ทศวรรษ 2540                        
2.6.1 การเมืองกับทางหลวงและการคมนาคมขนส่งหลังรัฐประหาร 2549    
2.6.2 โครงการ 2.2 ล้านล้านบาท และฝันสลายของระบบรางไทย        
2.6.3 ต้นทุนการขนส่งทางหลวงที่แพงกว่าระบบราง                
2.7 “ไฮเวยาธิปไตย” ที่กลับมาในฐานะอภิมหาโครงการทางหลวงและความอื้อฉาว หลังรัฐประหาร 2557                        
2.8 สรุป  
                                     
บทที่ 3 เทพบุตรทางหลวงอำนาจความเปลี่ยนแปลงของพื้นที่เมืองและชนบท อันเนื่องมาจากไฮเวยาธิปไตย                  
3.1 การสร้างทางและการเวนคืนการเปลี่ยนที่ดินเอกชนให้เป็นของรัฐ        
3.2 “ไฮเวยาธิปไตย” อันส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ริมทางหลวง        
3.2.1 ถนนไฮเวย์ผ่าเมือง-เมืองอกแตกแห่งยุคสมัย                
3.2.2 ไฮเวยาธิปไตย ในฐานะอำนาจของกรมทางหลวงเหนือท้องถิ่น ถนนอ้อมเมืองและขั้นกว่าในนามถนนวงแหวน                    
3.2.3 God is in the details สิ่งก่อสร้างบนทางหลวงโดยรัฐ            
3.2.4 Laissez-faire สิ่งก่อสร้างริมทางหลวงของเอกชน การเติบโตของพื้นที่แบบมือใครยาวสาวได้สาวเอาภายใต้การลิขิตของทางหลวง    
3.3 สรุป      
                                 
บทที่ 4 มัจจุราชทางหลวง ว่าด้วยการเดินทาง อุบัติเหตุและการสูญเสีย อันเนื่องมาจากไฮเวยาธิปไตย                            
4.1 กฎหมายการจราจรทางบก เครื่องมือจัดระเบียบ และควบคุมอุบัติเหตุบนท้องถนน                            
4.2 ความเร็ว สัดส่วนของของยวดยานพาหนะและผู้คนบนทางหลวง        
4.3 มัจจุราชในนาม “ไฮเวยาธิปไตย”                        
4.4 นรกทางหลวง อันตรายจากสภาพถนน                        
4.4.1 โค้งร้อยศพและจุดเสี่ยง                            
4.4.2 ถนนรัชดาภิเษก จากถนนวงแหวนสู่โค้งร้อยศพกลางกรุง            
4.4.3 “ไฮเวยาธิปไตย” บนพื้นที่ชายขอบกับโศกนาฏกรรมซ้ำซาก        
4.4.4 อุบัติเหตุอุบัติใหม่ ระหว่างเส้นทางและหลังถนนสร้างเสร็จ            
4.4.5 หรือว่าผีที่แท้จริงคือ ระบบการบริหารจัดการทางหลวงที่ไร้การตรวจสอบ และควบคุมจากภายนอก และการจัดการที่ไร้จินตนาการใหม่ ๆ?            
4.5 อุบัติเหตุบนท้องถนนในป๊อปคัลเจอร์                        
4.6 ตัวร้ายบนทางหลวง Devil is in the details                    
4.7 รถเครื่องและรถกระบะ ในฐานะตีนของชาวบ้านจำเลยสังคม หรือเหยื่อบนท้องถนน                                
4.8 สรุป      
                                 
บทที่ 5 บทสรุป                                     
รีวิวหนังสือเล่มนี้
0.0
Out of 5
0 Ratings
หนังสือที่คุณอาจชอบ
01 / 05
รีวิวและให้คะแนนหนังสือเล่มนี้
ไฮเวยาธิปไตย : อำนาจของถนนกับพลวัติการคมนาคมขนส่งของประเทศไทย
ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์
ตะกร้าสินค้า
ลงชื่อเข้าใช้งาน
เพื่อเว็บไซต์จะแนะนำหนังสือ
ในหมวดหมู่ที่คุณอาจสนใจได้ทันที
ลืมรหัสผ่าน?
กรุณากรอกอีเมลที่ท่านสมัครสมาชิกไว้เพื่อรับรหัสผ่านใหม่
ระบบจัดส่งการสร้างรหัสผ่านใหม่ให้ท่านทางอีเมลเรียบร้อยแล้ว
นโยบายความเป็นส่วนตัว