25 ปี ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน) รวมบทความจากสนาม
รวมบทความจากสนาม ในวารระครบ 25 ปี ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
หนังสือ 25 ปี ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) 2558 รวมบทความจากสนาม เอกสารวิชาการลำดับที่ 134 เป็นการรวบรวมบทความที่เกิดจากงานและความสนใจของนักวิชาการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) บทความส่วนใหญ่ของหนังสือเล่มนี้เป็นการกล่าวถึงประเด็นมรดกวัฒนธรรม ได้แก่ งานพิพิธภัณฑ์ งานจดหมายเหตุ งานโบราณคดี จารึกเอกสารโบราณ และประวัติศาสตร์ ทั้งนี้ เพราะตลอดช่วงเวลาเกือบสามทศวรรษ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ได้ให้ความสำคัญในการทำงานในประเด็นมรดกวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง ทำให้การสร้างสมองค์ความรู้ทางมรดกวัฒนธรรมได้อย่างหลากหลายสาขา
บทความ “เรื่องเล่า ประสบการณ์ และเสียงของผู้หญิงในพิพิธภัณฑ์ไทย”
ปณิตา สระวาสี
บทความ “การเดินทางของบันทึกภาคสนาม จากบันทึกส่วนตัวสู่คลังจดหมายเหตุบนโลกดิจิทัล”
ธันวดี สุขประเสริฐ
บทความ “ภาพถ่ายดิจิทัลใช้เป็นเอกสารลายลักษณ์อักษรได้หรือไม่?”
สิทธิศักดิ์ รุ่งเจริญสุขศรี
บทความ “อ่านตำราแมว ฉบับหมอเห วัดท่าพูด : ย้อนรอยความเชื่อและความสัมพันธ์ของแมวกับคนไทยในอดีต”
นวพรรณ ภัทรมูล
บทความ “การศึกษาโครงกระดูกมนุษย์ในวัฒนธรรมบ้านเชียง จากการขุดค้นที่วัดโพธิ์ศรีใน จ.อุดรธานี เมื่อ พ.ศ.2546”
กรกฎ บุญลพ /นฤพล หวังธงชัยเจริญ และทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล
บทความ “เส้นทาง “นิราศยี่สาร”กับร่องรอย “ภูมิสังคมสมุทรสาคร”
ดร.ตรงใจ หุตางกูร และนัทกฤษ ยอดราช
บทความ “สวรรค์หรือหลุมศพ : การวิพากษ์ความรู้มานุษยวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 21”
ดร.นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ
บทความ “เรื่องเล่ากับการสร้างความศรัทธา กรณีศึกษาพระพุทธรูปหลวงพ่อวัดไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม”
รุ้งตะวัน อ่วมอินทร์
บทความ “พื้นที่วัฒนธรรม เขตเศรษฐกิจ และความเป็นมนุษย์”
ศาสตราจารย์พิเศษ ศรีศักร วัลลิโภดม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านมานุษยวิทยา
บทความ “เรื่องเล่า ประสบการณ์ และเสียงของผู้หญิงในพิพิธภัณฑ์ไทย”
ปณิตา สระวาสี
บทความ “การเดินทางของบันทึกภาคสนาม จากบันทึกส่วนตัวสู่คลังจดหมายเหตุบนโลกดิจิทัล”
ธันวดี สุขประเสริฐ
บทความ “ภาพถ่ายดิจิทัลใช้เป็นเอกสารลายลักษณ์อักษรได้หรือไม่?”
สิทธิศักดิ์ รุ่งเจริญสุขศรี
บทความ “อ่านตำราแมว ฉบับหมอเห วัดท่าพูด : ย้อนรอยความเชื่อและความสัมพันธ์ของแมวกับคนไทยในอดีต”
นวพรรณ ภัทรมูล
บทความ “การศึกษาโครงกระดูกมนุษย์ในวัฒนธรรมบ้านเชียง จากการขุดค้นที่วัดโพธิ์ศรีใน จ.อุดรธานี เมื่อ พ.ศ.2546”
กรกฎ บุญลพ /นฤพล หวังธงชัยเจริญ และทนงศักดิ์ เลิศพิพัฒน์วรกุล
บทความ “เส้นทาง “นิราศยี่สาร”กับร่องรอย “ภูมิสังคมสมุทรสาคร”
ดร.ตรงใจ หุตางกูร และนัทกฤษ ยอดราช
บทความ “สวรรค์หรือหลุมศพ : การวิพากษ์ความรู้มานุษยวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 21”
ดร.นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ
บทความ “เรื่องเล่ากับการสร้างความศรัทธา กรณีศึกษาพระพุทธรูปหลวงพ่อวัดไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม”
รุ้งตะวัน อ่วมอินทร์
บทความ “พื้นที่วัฒนธรรม เขตเศรษฐกิจ และความเป็นมนุษย์”
ศาสตราจารย์พิเศษ ศรีศักร วัลลิโภดม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านมานุษยวิทยา
รีวิวหนังสือเล่มนี้
หนังสือที่คุณอาจชอบ
01 / 05
รีวิวและให้คะแนนหนังสือเล่มนี้


